-
Notifications
You must be signed in to change notification settings - Fork 2
Contribution Guide
- Prerequired
- Getting Started
- Generate new Application
- Git Commit Guideline
- Project Structure
- To-be Dependency Graph (WIP)
โปรดติดตั้ง Tools ก่อน
สำหรับผู็ที่ต้องการ contribute สามารถเริ่มได้จากการ clone repository ก่อน เพื่อรับ Source Code ทั้งหมดของ CU Get Reg Project
git clone https://github.com/thinc-org/cugetreg.git
ขอให้ทำการติดตั้ง node๋JS รุ่น LTS ล่าสุด
จากนั้นทำการ Install dependencies ด้วย PNPM
pnpm install
ถ้าใครเจอ error เกี่ยวกับ canvas
หรือ gyp
ให้ run command ต่อไปนี้
brew install pkg-config cairo pango libpng jpeg giflib librsvg
ในการ Run Apps ต่างๆ เราจะใช้ Turbo เป็นเครื่องมือหลักในการจัดการ application หลาย ๆ อย่าง ทั้ง Frontend, Backend และอื่น ๆ
ขั้นแรกให้ทำการสร้างไฟล์ตั้งค่า (Dotenv File) ในแต่ละ Apps ที่จะใช้โดยตั้งชื่อไฟล์เป็น .env.local
สามารถดูค่าที่ต้องใส่ได้ใน .env.template
เช่น ถ้าจะรันแค่ Api App ก็ให้สร้างไฟล์ apps/api/.env.local
ก่อน
จากนั้นให้รัน App โดยใช้คำสั่ง
pnpm dev --scope="<appname>"
โดย <appname>
ที่ใช้ได้มีดังนี้
-
web
: Frontend สำหรับ CU Get Reg -
api
: API Backend สำหรับ CU Get Reg -
reg-scraper
: ตัวดึงข้อมูลจาก Reg Chula -
admin-web
: Frontend ระบบ Backoffice -
admin-api
: Backend ระบบ Backoffice
โดย Web Application (web
) เมื่อรันแล้วจะสามารถเข้าถึงได้ผ่าน Browser โดยใช้ URL localhost:4200 ส่วน Backend Application (api
) จะเป็น http://localhost:3333/_api
Service สำหรับ serve หน้าเว็บหลักให้ผู้ใช้ทั่วไป
สำหรับ Frontend Web Developer, app หลักจะอยู่ใน apps/web
สามารถเริ่ม run Application ด้วย
nx run web:serve
โดย Application จะรันบน localhost:4200
สามรถรัน Test ด้วยคำสั่ง
nx run web:test
และ Build Docker image โดยคำสั่ง
nx run web:docker-build
Service สำหรับ provide API ทั้ง course, review และ user
ก่อนอื่นตั้งค่า .env.local
ก่อน
สำหรับ Backend Developer, app หลักจะอยู่ใน apps/api
สามารถเริ่ม run Application ด้วย
nx run api:serve
โดย Application จะรันบน localhost:3333
สามรถรัน Test ด้วยคำสั่ง
nx run api:test
และ Build Docker image โดยคำสั่ง
nx run api:docker-build
Service สำหรับดึงข้อมูลจาก Reg Chula ด้วยวิธีการ scrape
เร็ว ๆ นี้
Service สำหรับการคำนวณระบบ Recommendation
เร็ว ๆ นี้
Service ที่ใช้สำหรับผู้ดูแลระบบเบื้องหลัง
เร็ว ๆ นี้
เราสามารถใช้ Office Nx Package ในการ Generate Application ได้
- NestJS: https://nx.dev/packages/nest
- NextJS https://nx.dev/packages/next
- AngularJS: https://nx.dev/packages/angular
เร็ว ๆ นี้
จะอธิบาย structure ของ project โดยสังเขป
workspace
├── apps
│ ├── api
│ ├── web
| ├── web-e2e (not implemented)
│ ├── scraper (planned)
│ ├── computation (planned)
│ └── admin-web (planned)
├── libs
| ├── codegen
| ├── course-utils
│ └── react-ui (coming soon)
└── tools
จะเป็นที่ที่เอาไว้รวม source code ส่วนที่เป็น application ทั้งหมดของ CU Get Reg ได้แก่
-
web
เป็น service ที่ใช้สำหรับ serve หน้าเว็บให้ผู้ใช้ทั่วไป -
web-e2e
เป็น code สำหรับทำ E2E Test ซึ่งตอนนี้ยังไม่ได้ implement -
api
เป็น service ที่ใช้สำหรับ provide API ทั้ง course, review และ user -
scraper
เป็น service ที่ใช้สำหรับดึงข้อมูลจาก Reg Chula ด้วยวิธีการ scrape -
computation
เป็น service ที่ใช้สำหรับ การคำนวณระบบ Recommendation -
admin-web
เป็น service ที่ใช้สำหรับผู้ดูแลระบบเบื้องหลัง
Library ควรเป็นที่ที่มี Test Coverage 80% ขึ้นไป
จะเป็น source code ของส่วนที่เป็น library ที่สามารถแชร์ระหว่าง Application ได้
-
codegen
เป็น library ที่ใช้ในการ generate type เพื่อให้ frontend (apps/web) สามารถใช้งาน GraphQL ได้โดย type safe -
course-utils
เป็น library ที่ใช้สำหรับเก็บรวมรวบ utils ที่เกียวกับ course เช่นข้อมูลคณะ type ต่าง ๆ -
react-ui
เป็น library ที่ใช้สำหรับการจัดการ UI ของ CU Get Reg Web ซึ่งใช้ Material UI v5 เป็นหลัก
ทั้งนี้ในส่วนของ UI เหตุผลที่ต้องแยกออกเป็น library เพื่อทำ shared ui ระหว่าง application และยังสามารถ clone ui library ใหม่ที่ใช้ ui library อื่นเป็นหลักแทนได้เช่น Tailwind
จะเป็นส่วนที่เอาไป define Workspace custom CLI สำหรับทำอะไรบางอย่าง
ใน Monorepo CU Get Reg นี้ สิ่งที่คาดหวังให้เป็นจะมีภาพประมาณนี้ (สามารแก้ไขทีหลังได้)
flowchart TD
codegen --> web
api -.-> codegen
codegen --> scraper
codegen --> admin-web
course-utils --> web
course-utils --> scraper
course-utils --> admin-web
material-ui -.-> react-ui
react-ui --> web
react-ui --> admin-web
computation
computation เขียนด้วยภาษา Python จึงไม่สามารถแชร์อะไรได้
react-ui จะ import จาก material ui อีกที ซึ่งทำหน้าที่เป็น UI Adaptor หากในอนาคตไม่อยากใช้ material ui แล้ว แทนที่จะไปไล่แก้ทั้ง Applications ให้มาแก้ที่ react-mui-ui แทน
- Facebook Page: Thinc.
- LinkedIn: CU Get Reg
- Discord: เร็ว ๆ นี้